"คู่มือการกักตัว" สำหรับผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยโควิด-19

"คู่มือการกักตัว" สำหรับผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยโควิด-19


สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย เปิด "คู่มือการกักตัว" สำหรับผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยโควิด-19 ฉบับประชาชน  เมื่อวันนี้ (7 ก.ค.64) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019) หรือ COVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยรายแรกเดือน มกราคม พ.ศ. 2563 ต่อมาในเดือนมีนาคม 2563 เกิดการระบาดในกลุ่มแข่งขันชกมวยไทย ณ สนามมวย เวทีลุมพินี เดือนธันวาคม 2563 เกิดการระบาดรอบใหม่ในตลาดค้าอาหารทะเล จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งสงสัยว่ามาจากแรงงานต่างด้าวที่มีการลักลอบเข้าประเทศ ทำให้ยอดผู้ติดเชื้อในประเทศเพิ่มขึ้น

และในเดือนเมษายน 2564 เกิดการระบาดระลอกใหม่ โดยมีคลัสเตอร์การแพร่ระบาดในสถานบันเทิงย่านทองหล่อ ซึ่งจากการระบาดในรอบนี้ ทำให้ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง กระจายไปหลายคลัสเตอร์ เช่น ตลาด ภาคอุตสาหกรรม แคมป์คนงาน ชุมชน ฯลฯ ส่งผลให้มีผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งระหว่างที่รอผลตรวจ จะต้องมีการแยกกักตัวและสังเกตอาการที่บ้าน 14 วัน

จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงได้จัดทำคู่มือการกักตัวที่บ้าน ฉบับประชาชน สำหรับผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ติดเชื้อโควิด-19 (COVID-19) เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติระหว่างแยกกักตัว เพื่อควบคุมและลดการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ครอบครัวและชุมชนต่อไป โดยสามารถโหลดคู่มือได้ตามด้านล่างค่ะ

>> คู่มือการกักตัว" สำหรับผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยโควิด-19 <<

 

ที่มา :: https://www.tnnthailand.com/news/covid19/84664/

        https://hp.anamai.moph.go.th/th/covid19-emag/205584

 

 558
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

Background Checks คือการตรวจสอบประวัติอย่างละเอียด ครอบคลุมทั้งด้านข้อมูลส่วนตัว, ประวัติอาชญากรรม, ภาวะทางการเงิน, การศึกษา ตลอดจนบริบทอื่น ๆ ที่ส่งผลกับตำแหน่งที่สมัครเข้ามา
สวัสดิการที่องค์กรมอบให้แก่พนักงาน กับ สวัสดิการที่พนักงานต้องการ นั้น บางเรื่องก็เป็นสิ่งที่ตรงกัน ส่วนบางเรื่องก็เป็นสิ่งที่ต่างความเห็นกัน ในเรื่องนี้จากทาง Jobthai (jobthai.com) เคยทำบทความนำเสนอผลการสำรวจความคิดเห็นจากคนทำงานทั่วประเทศในประเด็นที่ว่า “สวัสดิการที่คนทำงานต้องการจากองค์กร” ซึ่งเป็นการทำผลสำรวจจากคนทำงานที่เป็นพนักงานทั่วไปจำนวน 7,420 คน ทั่วประเทศ โดยมีผลการสำรวจออกมาดังนี้
เคยได้ยินคำว่า Flexible Time กันอยู่บ่อย ๆ ว่าแต่เอ๊ะ มันคืออะไร ??
AQ หรือ Adversity Quotient คือความฉลาดในการรับมือกับปัญหา ทั้งสภาพกาย และจิตใจ ถูกบัญญัติขึ้นโดยพอล สโตลทซ์ (Paul Stoltz) เมื่อปี 1997 ว่า เป็นวิธีการประเมินความสามารถของแต่ละคนในการรับมือ และตอบสนองต่อความทุกข์ยาก โดยสถาบันชั้นนำอย่างฮาร์วาร์ด (Harvard), สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT) และคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon) ต่างก็ใช้ AQ เป็น ‘Golden Standard’ เพื่อประเมินว่า คนนั้นๆ จัดการกับความท้าทายอย่างไรด้วยกันทั้งสิ้น และยังค้นพบอีกด้วยว่า AQ มีความสัมพันธ์โดยตรงกับ ‘การเป็นผู้นำที่ดี’
การวางแผนอัตรากำลังคน (Manpower Planning) หรือ การวางแผนกำลังคน คือ กระบวนการในการคาดการณ์ หรือการวิเคราะห์ จำนวนความต้องการกำลังคนขององค์กร ประเภทพนักงานที่มีความสามารถเหมาะสมที่จะมาปฏิบัติงานให้พอเพียงกับการเปลี่ยนแปลง การขยายตัว หรือลดขนาดองค์กร เพื่อความเหมาะสมของขนาดองค์กร ตามความต้องการของธุรกิจให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์กรได้กำหนดไว้
ปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า "Face recognition" หรือ ระบบจดจำใบหน้า อย่างกว้างขวาง รวมไปถึงการนำไปใช้กับซอฟต์แวร์ในระบบ HR ในการสแกนใบหน้าเพื่อลงเวลาเข้า-ออกงานที่ออฟฟิศ เพื่อบันทึกประวัติการทำงานของพนักงาน ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน คำนวณเงินเดือน รวมไปถึงการประเมินต่างๆ
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์